ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา พัดเกตุ

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายต่างประเทศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา พัดเกตุ
รักษาการในตำแหน่งผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายต่างประเทศ
ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

2541-2545   Ph.D. Literature and Film จาก University of Newcastle-upon-Tyne ประเทศสหราชอาณาจักร

2540-2541   M.A. Literature (Twentieth-Century Studies) จาก  University of Newcastle-upon-Tyne ประเทศสหราชอาณาจักร

2536-2539   อ.บ. ภาษาอังกฤษ (เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง เหรียญทอง) จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ทุนการศึกษา

2540-2545        ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของรัฐบาลไทย โดยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เพื่อศึกษาต่อ ณ University of Newcastle upon Tyne ประเทศอังกฤษ 

มิ.ย.ส.ค. 2561  ทุนการศึกษาจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เพื่อเข้าร่วมโครงการ Study of the U.S. Institute (SUSI) for Scholars on Contemporary American Literature  Seattle University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประวัติการทำงาน

2540-ปัจจุบัน          คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่ทำงาน

ภาควิชาภาษาอังกฤษ  คณะมนุษยศาสตร์  มหาวิทยาลัยนเรศวร  ตำบลท่าโพธิ์  อำเภอเมือง  จังหวัดพิษณุโลก  65000

โทร     055-962083

มือถือ  086-659-2315

งานวิจัย
  1. Padgate, Usa. (2004). The Roles of Literary Allusions in the Development of the Main Characters in Willy Russell’s Educating Rita. Faculty of Humanities, Naresuan University: Phitsanulok, 62 pages. (งบประมาณแผ่นดินประจำปี 2546 ระยะเวลาดำเนินงาน มิถุนายน พ.ศ. 2546 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2547)
  1. สตรีนิยมที่ถูกรื้อสร้าง: การผนึกกำลังของผู้หญิงในกรงอำนาจผู้ชายในนวนิยายเรื่อง The Kitchen God’s Wife ของ Amy Tan (งบรายได้คณะมนุษยศาสตร์ประจำปี 2550 ระยะเวลาดำเนินงาน พฤษภาคม 2550 ถึง กรกฎาคม 2550)
  1. A Study of the Ability to Understand Humour in English Literature of Thai University Students

(งบรายได้คณะมนุษยศาสตร์ประจำปี 2551)

  1. โครงการพัฒนาแบบทดสอบภาษาอังกฤษมาตรฐานของมหาวิทยาลัยนเรศวร (NU-SET) (งบประมาณรายได้มหาวิทยาลัยนเรศวรประจำปี 2555)
  1. การศึกษาโมทีฟในภาพยนตร์เรื่อง สโนว์เค้ก (2561) (A Study of Motif in the Film Snow Cake (2006)) (โครงการวิจัยงบประมาณส่วนตัว ระยะเวลาดำเนินโครงการ ตั้งแต่ 6 ตุลาคม 2558 ถึง 5 ตุลาคม 2559)
  1. โครงการวิจัย “การส่งเสริมการนำเรื่องการรู้เท่าทันสื่อวิทยุ-โทรทัศน์ไปใช้ในระดับอุดมศึกษา” (2560) (ทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ตั้งแต่ 17 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560)
  1. โครงการวิจัย “Venus: A Postmodern Critique of Patriarchy” (วีนัส: วิพากษ์อำนาจบุรุษแนวหลังนวนิยม) (2562) (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัย (แบบเหมาจ่าย) งบประมาณรายได้คณะมนุษยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2562)
  1. โครงการวิจัย “Mirror Image: Desire and Confinement in Chloe (2009)” (คนในกระจก: ความปรารถนาและการจองจำในภาพยนตร์เรื่อง โคลอี้ (พ.ศ. 2552) (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัย (แบบเหมาจ่าย) งบประมาณรายได้คณะมนุษยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2563)
  1. โครงการวิจัย “Mapping the Mystique of Mimesis in Stieg Larsson’s The Girl with the Dragon Tattoo” (จับทางพลังลึกลับแห่งการลอกเลียนในนวนิยายเรื่อง เดอะ เกิร์ล วิธ เดอะ ดรากอน แทททู ของ สตีก ลาร์สัน) (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัย (แบบเหมาจ่าย) งบประมาณรายได้คณะมนุษยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2564)

10.โครงการวิจัย “การวิเคราะห์มุมมองยุคหลังอาณานิคมในเรื่องสั้น “เดอะ เสิร์ช เอ็นจิน” ของ เชอร์แมน อะเล็กซี” (A Postcolonial Reading of Sherman Alexie’s Short Story “The Search Engine”) (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัย (แบบเหมาจ่าย) งบประมาณรายได้คณะมนุษยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2565)

บทความวิจัยและบทความทางวิชาการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

 

  1. Padgate, U. (2018). An investigation of the marked parallel structure in Alice Munro’s “Amundsen”. Advances in Language and Literary Studies, 9(3), 60-66.
  1. Padgate, U. (2019). Mirror image: A study of the power politics of mimetic desire and cinematic confinement in Chloe (2009). Advances in Language and Literary Studies, 10(6), 63-71.
  1. Padgate, U. (2021). Unmaking Masculine Determinacy: A Postmodern Challenge in Suzan-Lori Parks’ Venus. MANUSYA: Journal of Humanities, 24(1), 164-183.
  1. Padgate, U. (2021). Unhomed at home: A postcolonial reading of Sherman Alexie’s “The Search Engine”. 3L: Language, Linguistics, Literature® The Southeast Asian Journal of English Language Studies, 27(3), 145-158.
  1. Padgate, U. (2022). Revenge, resurrection and redemption: Mapping the mystiques of mimesis in Stieg Larsson’s The Girl with the Dragon Tattoo. Humanities, Arts and Social Sciences Studies (HASSS), 22(2), 371-383.

บทความวิจัยและบทความทางวิชาการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

  1. อุษา อาภัสระวิโรจน์. (2546). “ไหม: มายา ความจริง และสิ่งที่สวยงาม”. บทวิจารณ์วรรณกรรม ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-มิถุนายน 2546 หน้า 22-28
  1. อุษา พัดเกตุ. (2547). “Educating Rita: Society, Education and Self-Reflection”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 1 ฉบับที่ 2, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2547 หน้า 135-147
  1. อุษา พัดเกตุ. (2548). “อสรพิษ: พิษงูไม่ร้ายเท่าพิษคน”. บทวิจารณ์วรรณกรรม ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 2 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-มิถุนายน 2548 หน้า 136-144
  1. อุษา พัดเกตุ. (2549). “Shakespeare in Love with Love: A Glance at the Passionate Love in Shakespeare in Love”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2, เดือนมกราคม-เมษายน 2549 หน้า 85-91
  1. อุษา พัดเกตุ. (2550). “A Recollection of the Fleeting Film Sessions”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 4 ฉบับที่ 2, เดือนมกราคม-เมษายน 2550 หน้า 119-130
  1. อุษา พัดเกตุ. (2551). “สตรีนิยมที่ถูกรื้อสร้าง: การศึกษาการผนึกกำลังของผู้หญิงในกรงอำนาจผู้ชายในนวนิยายเรื่อง ‘เมียจ้าว’”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2, เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม หน้า41-62
  1. อุษา พัดเกตุ. (2552). “A Study of the Ability to Understand Humour in English Literature of Thai University Students”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-เมษายน 2552 หน้า 107-122
  1. อุษา พัดเกตุ. (2553). “The Opposite of Fate: Fact and Fiction” (Book Review). วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 7 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-เมษายน 2553 หน้า 115-117
  1. ศุภรวินท์ สมหมาย และ อุษา พัดเกตุ. (2556). “A Conversational Implicature Analysis in J.K. Rowling’s Harry Potter and the Prisoner of Azkaban”. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสคร์) ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 หน้า 25-38
  1. ประทุมเพชร แซ่อ๋อง, พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์ และ อุษา พัดเกตุ. (2560). “สำนวนและความเปรียบ: กลวิธีการแปลที่ปรากฏในวรรณกรรมแปล เรื่อง แฮรี่พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 14 ฉบับที่ 2, เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2560 หน้า 61-72
  1. ธิติสรร พึ่งกัน, อุษา พัดเกตุ และ พรวีร์ ทันนิเทศ. (2560). “A Reflection of Jean Piaget’s Cognitive Development Theory in the Adolescent Character of Katniss Everdeen in The Hunger Gems Trilogy”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 14 ฉบับที่ 2, เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2560 หน้า 73-88
  1. ธนกานต์ นพเก้า และ อุษา พัดเกตุ. (2561). “Captain America: The American Made Character”. วารสารนานาชาติมหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1, เดือนมกราคม-เมษายน 2561 หน้า 126-153
  1. ผักแว่น จันทร์อินทร์ และ อุษา พัดเกตุ. (2561). “การวิเคราะห์การนำเสนอบทบาทสตรีจากนวนิยาย เรื่อง เล่นซ่อนหาย”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับพิเศษ หน้า 141-146
  1. อุษา พัดเกตุ. (2561). “A Snowflake in All of Us: A Study of Motif in the Film Snow Cake (2006). วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 15 ฉบับที่ 3, เดือนกันยายน-ธันวาคม 2561 หน้า 1-12
  1. อุษา พัดเกตุ. (2562). “ภาษาผู้หญิงและสิ่งประหลาด: พินิจความเหลื่อมล้ำทางเพศในบทละครเรื่อง วีนัส ของ ซูซาน ลอรี พาร์คส์”. มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2, เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2562 หน้า 195-224
  1. Padgate, U. (2020). Schindler’s list: A postmodern revisit. Manutsayasat Wichakan, 27(1), 354-370.
  1. Padgate, U. (2022). Deference or defiance: How a thematic duality in characterization is negotiated in Kay Pollak’s Så som i himmelen [As It Is in Heaven]. Journal of Studies in the English Language, 17(1), 50-63. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsel/article/view/257991
  1. Paokantha, I. & Padgate, U. (2022). A Jungian analysis of the male protagonist's personality in Stephen Sondheim's Sweeney Todd: The Demon Barber of Fleet Street. Thoughts, 2(2022). 22-37.
  1. Padgate, U. (2023). In the postcolonial mindscape of Stieg Larsson’s The Girl Who Kicked the Hornet’s Nest: An immigrant’ story. Journal of Humanities Naresuan University, 20(2), (page numbers pending).

บทความตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

 

  1. Simpson, J. & Padgate, U. (2017, December 12-15). A perspective of Thai students on Facebook usage in an EFL writing context. ASAIHL Conference 2017 Proceedings. Paper presented at ASAIHL Conference 2017: Better Life Expectancy through Education, Research, and Innovation, Naresuan University, Thailand (225-230). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Padgate, U. (2019). Triangulating the male homosocial continuum: A case study of Kinsey (2004). In Proceedings of 11th International Conference on Humanities and Social Sciences (pp. 151-162). Songkla: Prince of Songkla University.
  1. Padgate, U., Simpson, J. & Kongmee, I. (2019). Reading into a zombie apocalypse: 3 ways to present a dystopia of lies and laughter. In Proceedings of the 34th AUAP Annual Conference 2019 (pp. 46-50). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Sangkawadee, R. & Padgate, U. (2019). Testing the post-colonial climate: Deconstructing the binary oppositions of the male protagonists in J. M. Coetzee’s Disgrace. In Proceedings of the 34th AUAP Annual Conference 2019 (pp. 41-45). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Padgate, U. & Padgate, W. (2021). No more nice girl: How “The Girl Who Played with Fire” spices the female and sacrifices the male. In Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences (HUSOC) Network Conferences (pp. 202-214). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Yawised, K., Apasrawirote, D. & Padgate, U. (2021). Enhancing SMEs’ resilience towards digital marketing engagement during COVID-19 pandemic. In Proceedings of the 16th National and International Sripatum University Conference (SPUCON2021) (pp. 190-199). Bangkok: Sripatum University.
  1. Simpson, J., Padgate, W. & Padgage, U. (2022). The development of English communicative skills of the homestay community and local products entrepreneurs in Wat Chan sub-district, Muang district, Phitsanulok province. In Proceedings of the 11th Phayao Research Conference (pp. 1789-1803). Phayao: University of Phayao.

 

บทความตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

 

  1. ประทุมเพชร แซ่อ๋อง, พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์ และ อุษา พัดเกตุ. (2559). “สำนวน สุภาษิต และความเปรียบ: กลวีการแปลแบบเทียบเคียงสำนวนที่ปรากฏในวรรณกรรมแปล ชุด แฮรี่พอตเตอร์”. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ครั้งที่ 4 วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2559 (หน้า 278-287).  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
  1. Inpon, T. & Padgate, U. (2020). An analysis of the syntactical parallel structure and the flouting of the parallel structure in the U.S. presidents’ inaugural speeches. In Proceedings of The 50th National Graduate Research Conference (pp.906-913). Bangkok: King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang.
  1. Sittisak, C. & Padgate, U. (2020). Exploring Male Homosocial Desires in Hanya Yanagihara’s A Little Life. In Proceedings of the 16th NU Research: Foresight Beyond 30 Years (pp.1422-1433). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Padgate, U. & Padgate, W. (2020). The Metatextuality of Crime Fiction in The Girl with the Dragon Tattoo: A Homage with a Twist to Golden-Age Detective Fiction. In Proceedings of ARUCON2020 (pp.189-193). Phranakhon Si Ayutthaya: Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University.
  1. Warangkana, P. & Padgate, U. (2021). An analysis of the flouting of cooperative principles in email correspondence for work. In Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences (HUSOC) Network Conferences (pp. 196-208). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. Kenprom, A. & Padgate, U. (2021). A study of directive speech acts in J. K. Rowling’s Harry Potter and the Half-Blood Prince. In Proceedings of the 17th NU Research: Resilience for Never Normal Era (pp. 1227-1240). Phitsanulok: Naresuan University.
  1. อรอุษา บำรุงไทย, พัฒน์ศักดิ์ กระต่ายน้อย, สิริพร จันทร์บรรจง และอุษา พัดเกตุ. (2565). “ความท้าทายในการพัฒนานิสิตบัณฑิตศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาไทย: กรณีศึกษาปัญหานิสิตแรก

เข้าระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร”. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ สำหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 14 ทองกวาววิชาการ’65 (หน้า 12-23). สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

 

งานแปลหนังสือ

 

  1. กิ่งแก้ว อัตถากร. (2563). วาทปกรณัมเพื่อการศึกษาคติชนวิทยา (Monologues on Folkloristics). (อุษา พัดเกตุ แปล). กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)
  1. กิ่งแก้ว อัตถากร. (2564). My Journey in the World of Books. (อุษา พัดเกตุ แปล). กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)

 

หนังสือ

 

  1. อุษา พัดเกตุ. (2564). ถ้อยคำสำนวนจากปกรณัมคลาสสิก. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผลงานเผยแพร่ในสื่ออื่น ๆ

  1. อุษา พัดเกตุ. (17 พฤษภาคม 2562). คิดเล่น เขียนจริง: “อสรพิษ” กับศักดาแห่งความเป็นชาย. อ่าน-คิด-เขียน. เผยแพร่วันที่ 17 พฤษภาคม 2562 ใน https://m.facebook.com/arts.readthinkwrite/photos/a.251240278604915/791051127957158/?type=3&source=57&__tn__=EH-R
  2. ไมเคิล ชาร์นีย์. (15 กุมภาพันธ์ 2564). 4 ปัจจัยรัฐประหารเมียนมา และภาพนางเอก “ซูจี”: ศ. ไมเคิล ชาร์นีย์ จาก SOAS. VOICE Online. เผยแพร่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ใน

https://voicetv.co.th/read/CclwdcsS3

  1. Padgate, U. (May 2021). Or does it explode?. Literature around the World. https://litatw.org/or-does-it-explode/

Loading